ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป
|
|
|
 |
 |
 |
 |
 |
 |
|
|
|
| |
|
สถิติผู้เยี่ยมชม |
|
เริ่มนับ 14/ต.ค../2558
|
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
66.249.75.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.148.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
216.244.66.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.149.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
46.229.168.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.148.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.149.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.149.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.149.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.148.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.148.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
157.55.39.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.150.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.149.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
207.46.13.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
35.172.217.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
157.55.39.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
171.4.230.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
27.55.69.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
182.232.119.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
64.233.173.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
64.233.173.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.148.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
93.197.163.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
54.36.148.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
64.233.173.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
171.4.228.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
66.220.149.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
66.220.149.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
173.252.95.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
66.220.149.xxx | 9/ธ.ค./2562 |
|
|
 |
 |
 |
|
|
 |  |  |
|
|
|
|
|
ข้อมูลสถานศึกษา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่
ประวัติวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ เป็นสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เดิมคือโรงเรียนประชาบาล (วัดหลวง) ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ เปิดสอนวิชาทอผ้าเพียงอย่างเดียว ต่อมาจังหวัดแพร่ได้ขออนุญาตกระทรวงศึกษาธิการเปิดสอนแผนกการช่างตัดเสื้อขึ้นอีกแผนกหนึ่ง จึงได้แยกออกจากโรงเรียนประชาบาลตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2480 โดยสร้างโรงเรียนขึ้นใหม่ชื่อว่า โรงเรียนช่างทอผ้าและตัดเย็บเสื้อผ้า ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนช่างเย็บผ้า โรงเรียนการช่างสตรีแพร่ โรงเรียนอาชีวศึกษาแพร่ ตามลำดับ และได้ยกฐานะเป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ (วิทยาเขต 2) เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2519 ต่อมากรมอาชีวศึกษาประกาศแยกวิทยาเขตเป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2522 เป็นต้นมา มีผู้บริหารซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งครูใหญ่ / อาจารย์ใหญ่ / ผู้อำนวยการ รวมทั้งสิ้นจำนวน 18 คน ผู้อำนวยการคนปัจจุบัน คือ ดร.ประทีป บินชัย
ขนาดและที่ตั้ง
-
ตั้งอยู่เลขที่ 4 ถนนยันตรกิจโกศล ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ รหัสไปรษณีย์ 54000
-
หมายเลขโทรศัพท์ 0-5451-1286 หมายเลขโทรสาร 0-5451-1174
-
Website : www.pvc.ac.th ,
-
E-mail : Phrae02@vec.mail.go.th
-
มีพื้นที่ทั้งหมด 18 ไร่ 45.8 ตารางวา
เปิดสอนหลักสูตร
-
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
-
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
-
ระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีการตลาด
-
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น
สภาพชุมชน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ ตั้งอยู่ในย่านชุมชนในตัวเมืองแพร่ ห่างจากศาลากลางจังหวัดแพร่ ประมาณ 1 กิโลเมตร มีพื้นที่ติดต่อ ได้แก่
-
ทิศเหนือ ติดกับ โรงเรียนเจริญศิลป์
-
ทิศใต้ ติดกับ ถนนภูเก็ต ย่านชุมชน
-
ทิศตะวันออก ติดกับ ศูนย์การค้ากาดน้ำทอง
-
ทิศตะวันตก ติดกับ ถนนยันตรกิจโกศล
ปรัชญา
“คุณธรรมดี ทักษะเด่น เน้นนวัตกรรม นำชุมชน”
-
คุณธรรมดี : มีคุณธรรม 8 ประการ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สะอาด สุภาพ สามัคคี มีน้ำใจ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจจนบรรลุจุดมุ่งหมาย
-
ทักษะเด่น : มีความชำนาญในสาขาวิชาชีพ เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามความต้องการของตลาดแรงงาน
-
เน้นนวัตกรรม : สร้างสรรค์นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ในสาขาวิชาชีพที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน สังคมเป็นที่ยอมรับ ทั้งในระดับประเทศ ระดับอาเซียน และระดับสากล
-
นำชุมชน : เข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชนทั้งในด้านศิลปวัฒนธรรมและการให้บริการชุมชน เพื่อปลูกฝังให้เยาวชนรักและภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมและเป็นแบบอย่างแก่ชุมชน
วิสัยทัศน์
ผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิชาชีพตามมาตรฐานสากล มุ่งให้ผู้เรียนมีคุณธรรมนำความรู้ สร้างสรรค์นวัตกรรม โดยการประยุกต์ศาสตร์พระราชาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่ประเทศไทย ยุค 4.0
พันธกิจ
-
สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอน ด้านอาชีวศึกษา
-
ส่งเสริม พัฒนาการอาชีวศึกษา และฝึกอบรมวิชาชีพเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสู่ระดับสากล โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
-
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
-
สร้างเสริมประสบการณ์วิชาชีพ ปลูกจิตอาสาด้วยการบริการสังคม
-
ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา สร้างองค์ความรู้เพื่อพัฒนานวัตกรรม
อัตลักษณ์
“ทักษะดี มีน้ำใจ ใฝ่เรียนรู้”
เอกลักษณ์
“เน้นความประณีต มีจิตบริการ”
วัฒนธรรมองค์กร , ค่านิยมองค์กร
ดูแล แบ่งปัน ช่วยเหลือ เอื้ออาทร Caring Sharing and Helping
เป้าประสงค์
-
เพื่อสร้างความเข้มแข็ง เครือข่ายความร่วมมือในการจัดอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ
-
เพื่อให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศด้านวิชาชีพ มีสมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ศักยภาพของพื้นที่และระดับสากล
-
เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถพัฒนาประเทศให้มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน
-
เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการด้านวิชาการ วิชาชีพอย่างทั่วถึง
-
เพื่อเผยแพร่และนำองค์ความรู้ด้านการวิจัย สร้างนวัตกรรม มาใช้ในการบริหารงาน การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา และให้บริการชุมชน
ยุทธศาสตร์
-
ผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิชาชีพอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐานสากล สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ
-
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมการพัฒนาหลักสูตรและความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะสอดคล้องกับบริบทและความเปลี่ยนแปลง
-
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความร่วมมือ จิตอาสา จรรยาบรรณวิชาชีพ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานกำลังคนอาชีวศึกษา
-
วิจัย สร้างนวัตกรรม จัดการองค์ความรู้ พัฒนาสู่อาชีวศึกษาเป็นเลิศ
|
|
|
|
 |  |  |
|
|
|
|